ร้อยเอ็ด เพชรงามแห่งเมืองอีสาน
เมืองร้อยเอ็จ หรือร้อยเอ็ด เป็นอีกหนึ่งจังหวัดเมื
นายราเมศ พรหมเย็น ผู้อำนวยการสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซียมสยาม) กล่าวว่า ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด เป็นพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ที่ขึ้นชื่อเรื่องนิทรรศการด้านดาราศาสตร์ และมีท้องฟ้าจำลองที่ใหญ่ที่สุดของภูมิภาค ซึ่งหากพิจารณาตามชื่อ “ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด” แล้ว จะพบว่า พิพิธภัณฑ์ยังขาดนิทรรศการด้านวัฒนธรรม มิวเซียมสยามเล็งเห็นถึงเอกลักษณ์ของเมืองร้อยเอ็ดที่โดดเด่นด้านวัฒนธรรม และโอกาสในการนำเสนอเรื่องราว จึงร่วมพัฒนานิทรรศการ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับเนื้อหาในศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ ร้อยเอ็ด นั่นคือ จักรวาล โดยนำไปเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมพื้นถิ่นแบบไทยๆ จนเป็นนิทรรศการ “นิทานจักรวาล” ที่นำเสนอจักรวาลแบบไทย ที่สะท้อนถึงวัฒนธรรม และวิถีการดำเนินชีวิตของชาวไทย ด้วยแนวคิดของพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ หรือ ดิสคัฟเวอรีมิวเซียม (Discovery Museum) ที่เน้นให้ผู้ชมเรียนรู้ด้วยตัวเองผ่านการตั้งคำถาม และชวนค้นหาคำตอบภายในนิทรรศการ
จากคติชนวิทยา สู่วิถีชาวไทยในปัจจุบัน
นายราเมศ กล่าวเพิ่มว่า “นิทานจักรวาล” เป็นนิทรรศการที่ผสมผสานความเชื่อ กับวัฒนธรรมแบบไทย ซึ่งนำเสนอจักรวาลแบบไทยๆ ที่สอดแทรกอยู่ในบทเรียน ได้แก่ “ไตรภูมิจักรวาล” เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้เข้าใจจักรวาลตามความเชื่อไทย ที่เห็นภาพได้ง่าย ชัดเจน เข้าใจมากยิ่งขึ้น และสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคติชนวิทยาดังกล่าว ที่เข้ามามีบทบาทต่อวิถีชีวิตแบบชาวไทยที่คนไทยยึดถือปฏิบัติมาจนถึงทุกวันนี้ โดยนิทรรศการดังกล่าว แบ่งออกเป็น 6 โซนจัดแสดง ดังนี้
1. ประตูสู่จักรวาล
เมื่อคุณก้าวเท้าเข้ามา จะพบกับอุโมงค์แบ็กไลท์ ซึ่งจะพาคุณเตรียมดำดิ่งสู่
2. ดินแดนในนิทาน
เมื่อผ่านประตูจักรวาลเข้ามา จะได้พบกับโซนไฮไลท์ชูโรงของนิ
3. สุดแดนมนุษย์
โซนจำลองภพคู่ขนานก่อนที่จะได้
หลังจากโซนตัดสินโทษทัณฑ์แล้ว ผู้เข้าชมจะได้สัมผัสกับอบายภู
เคยสงสัยหรือไม่ เทวดา นางฟ้า ทำอะไรกัน…ถัดมาจากแดนบาป จะมาถึง สุคติภูมิ หรือ สวรรค์ ในตีมสีสะอาดตา ที่จะพาไปเรียนรู้สวรรค์แต่ละชั้
จากคติชนวิทยา สู่ศิลปวัฒนธรรมไทย ในโซนการเรียนรู้ ที่สะท้อนความสัมพันธ์ที่ได้รั
ใครผ่านไปเที่ยวร้อยเอ็ด ต้องไม่พลาด! เตรียมจูงมือทั้งครอบครัวไปเที่
ผู้สนใจสามารถเข้าชมนิทรรศการ “นิทานจักรวาล” ได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ทุกวันอังคาร – วันเสาร์ เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่